หน่วยที่8 กฎหมายและจริยธรรมและการท าธรุ กรรมดิจิทัล

 

หน่วยที่8 กฎหมายและจริยธรรมและการทำธรุ กรรมดิจิทัล

1.พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 

     พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ์พ.ศ. 2544 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545 นับเป็นกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศฉบับแรกที่ใช้บังคับกับการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์เนื่องจากการท าธุรกรรมทางอิเลก็ทรอนิกส์บางประเภทเช่นการทา สัญญากฎหมายก าหนดว่าตอ้ ง มีการลงลายมือชื่อคู่สัญญาจึงจะมีผลสมบูรณ์และใช้บังคับได้ตามกฎหมายกฎหมายทั้งสองส่วนจึงมี ความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด รับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการท าธุรกรรมหรือ สัญญา       

ความเป็นมาของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544

1)         รับรองตราประทับอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถระบุถึงตัวผู้ท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นเดียวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 

2)         สามารถน่าเอกสารซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มาใช้แทนต้นฉบับหรือให้เป็น พยานหลักฐานในศาลได้

3)         ส่งเสริมความเชื่อมั่นในการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศ โดยที่การท าธุรกรรมในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่ อาศัยการพัฒนาเจตนารมณ์ในการร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส ์ พ.ศ. 2544 เทคโนโลยี ทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ แต่เนื่องจากการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ดังกล่าวมีความแตกต่างจากวิธีการท าธุรกรรมซึ่งมีกฎหมายรองรบั อยู่ในปจั จุบนั เป็นอย่างมากหรือหลักฐานเปน็ หนังสือการรับรองวิธีการส่งและรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการรับฟัง พยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเป็นการส่งเสริมการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้น้ าเชื่อถือ และมีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการท าธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิมอันจะเป็นการส่งเสริม ความเชื่อมั่นในการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันในเวทีการค้าระหว่าง ประเทศ

2.พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

     ในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็นส่วนส าคัญของการประกอบกิจการและการด ารงชีวิตของมนุษย์หากมี ผู้กระท าด้วยประการใด ๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถท างานตามค าสั่งที่ก าหนดไว้หรือท าให้การท างาน ผิดพลาดไปจากค าสั่งที่ก าหนดไว้หรือใช้วิธีการใด ๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูลแก้ไขหรือท าลายข้อมูลของบุคคลอื่นใน ระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบหรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จมีลักษณะอัน ลามกอนาจารย่อมท าให้เกิดความเสียหายกระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจสังคมและความมั่นคงของรัฐการ กระท าดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และโดยที่พระราชบัญญัติฉบับนี้คือโดยที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550 มีบทบัญญัติบางประการทไี่ ม่เหมาะสมต่อการป้องกนั และปราบปรามการกระท าความผิดเกี่ยวกับรวมทงั้ ความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชนสมควรก าหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามในปัจจุบันซึ่ง มีรูปแบบการกระท าความผิดที่มีความซับซ้อนมากขึ้นตามพัฒนาการทางเทคโนโลยี

 

3.ค่านิยามที่ควรรู้

     อาจสั่งเสียงประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติแพร่การติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น "ผู้ให้บริการ” หมายความว่า 

     1.ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ตหรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่นโดยผ่านทาง ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเองหรือในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น       

      2.ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น“ ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียค่าใช้บริการหรือไม่ก็ตาม“ พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่าผู้ซึ่ง รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ 

 

4.   จริยธรรมในการทำธุรกรรมดิจิทัลจริยธรรม      ในการทำธุรกรรมดิจิทัลเป็นหลักเกณฑ์ที่ประชาชนหรือคนส่วนใหญ่ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ตกลงร่วมกัน หรือความคิดเห็นในแนวทางเดียวกันโดยความคิดเห็นหรือข้อตกลงร่วมนี้ถูกใช้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ร่วมกันส าหรับตัวอย่างของการทยี่ อมรบั กันโดยทั่วไปว่าเป็นการผดิ จรยิ ธรรมเช่นการใช้คอมพิวเตอรท์ ารา้ ยผอู้ นื่ ให้เกิดความเสียหายหรือก่อความร าคาญหรือการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลหรือการเข้าถึงข้อมูลหรือ คอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์เป็นต้นโดยทั่วไปเมื่อพิจารณา ถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการท าธุรกรรมดิจิทัลแล้วนิยมกล่าวถึงหลักพิจารณาใน 4 ประเด็นดังนี้ 

4.1 ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) หมายถึง ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึงสิทธิที่จะอยู่ตามล าพังและเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการ เปิดเผยให้กับผู้อื่นสิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคลกลุ่มบุคคลและองค์กรต่าง ๆ ปัจจุบันมีประเด็น เกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อน่าสังเกตดังนี้ 

4.1.1 การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์รวมทงั้การบันทึกแลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร 

4.1.2 การใช้เทคโนโลยีในการติดตามเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคลเช่น บริษัท ใช้คอมพิวเตอร์ ความเป็นส่วนตัวซึ่งการกระท าเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม

4.1.3 การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหลง่ ต่าง ๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาดอื่น ๆ การละเมิดสทิ ธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศจึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูลโดยเฉพาะการใช้ 

4.2 ความถูกต้อง (Information Accuracy) หมายถึง ความถูกต้องของข้อมูลที่เกิดจากการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวมจดั เก็บและเรียกใช้ข้อมูลนั้นโดยความถูกต้องของข้อมูลจะส่งผลถึงความน่าเชื่อถอื

ได้ของข้อมูลทั้งนี้ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย                 

4.3 ความเป็นเจ้าของ (Intellectual Property) หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินซึ่งอาจ เป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้เช่นคอมพิวเตอร์รถยนต์หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จับต้อง ไม่ได้เช่นบทเพลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่าง ๆ ได้เช่นสิ่งพิมพ์ซีดีดีวีดี เป็นต้น 

4.4 การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) หมายถึง สิทธิในการเข้าใช้งานโปรแกรมหรือระบบ คอมพิวเตอร์ซึ่งมักจะมีการก าหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งานทั้งนี้เพื่อเป็นการปอ้ งกันการเข้าไปด าเนินการตา่ ง ๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องและเป็นการรักษาความลับของข้อมูลตัวอย่างสิทธิ์ในการใช้งานระบบ เช่นการบันทึกการแก้ไขปรับปรุงและการลบเป็นต้น      สภาพการณ์การใช้งานคอมพิวเตอร์และการท าธุรกรรมดิจิทัลในปัจจุบนั มีความซับซ้อนมากขึ้นสืบเนื่องจาก ความซับซ้อนของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารซึ่งส่งผลให้กรอบจริยธรรมที่เคยเป็นข้อตกลงร่วมหรือ แนวคิดรวมของกลุ่มคนในสังคมที่ใช้เป็นหลักพิจารณาในการใช้เทคโนโลยีเริ่มไม่เพียงพอเพราะในบางครั้ง เทคโนโลยีได้ถูกออกแบบมาให้ละเมิดกรอบจริยธรรมเหล่านี้โดยธรรมชาติเช่นการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook) โดย หลักการแล้วโปรแกรมประยุกต์นี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ซึ่งเป็นหลักการที่ดี แต่ในขณะเดียวกันโปรแกรมนี้ก็ส่งเสริมให้เกิดมีการละเมิดความเป็นส่วนตัวไปพร้อม ๆ กัน หรือเปิดช่องทางให้มิจฉาชีพน าข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้ไปใช้ในทางเสียหายเรียกปัญหาในลักษณะนี้ว่าเป็นปัญหา การใช้เทคโนโลยีกับสังคมดังนั้นกรอบจริยธรรมหรือหลักยึดถือทางด้านจริยธรรมด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศเพียงอย่างเดียวจะไม่เพียงพอต่อการควบคุมกลมุ่ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั เนื่องจาก กลไกการพัฒนาทางเทคโนโลยีมีทิศทางที่ละเมิดกรอบจริยธรรมที่เคยยึดถือปฏิบัติดังนั้นกฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศ

 

5.จริยธรรมสำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์

     ผู้ที่ทำธุรกรรมดิจิทัลทุกคนมีเมลบ็อกซ์หรอื อีเมลแอดเดรสที่ใช้อ้างอิงในการรับส่งจดหมายความรับผิดชอบ ต่อการใช้งานอีเมลในระบบจงึ เป็นเรอื่ งทที่ ุกคนต้องให้ความส าคัญเพราะจดหมายมีการรบั สง่ โดยระบบซึ่งหากมี จดหมายค้างในระบบจ านวนมากจะท าให้พื้นที่บัฟเฟอร์ของจดหมายในระบบหมดจะเป็นผลให้ระบบไม่ สามารถรับส่งจดหมายต่อไปได้หลายต่อหลายครั้งระบบปฏิเสธการรับสง่ จดหมายเพราะไฟล์ระบบเต็มดังนั้นจงึ มีความรับผิดชอบในการดูแลผู้จดหมายของตนเองดังนี้ 

     5.1 ตรวจสอบจดหมายทุกวันและจะต้อง จ ากัด จ านวนไฟล์และข้อมูลในตู้จดหมายของตนให้เลือกภายใน โควตาที่ก าหนด 

     5.2 ลบข้อความหรือจดหมายที่ไม่ต้องการแล้วโดยเฉพาะจดหมายขยะออกจากดิสก์เพื่อลดปริมาณการใช้ ดิสก์ให้จ านวนจดหมายที่อยู่ในตู้จดหมายมีจ านวนน้อยที่สุด

 

6.จริยธรรมในการทำธุรกิจดิจิทัล

     การทำธุรกิจดิจิทัลควรมีจริยธรรมดังนี้ 

     6.1 ขายสินค้าและบริการในราคายุติธรรมและตรงตามคุณภาพที่ระบุไว้ 

     6.2 ละเว้นการกลั่นแกล้งให้ร้ายข่มขู่หรือที่กันไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม

      6.3 ควรตรงไปตรงมาชัดเจนแน่วแน่น 6.4 ไม่ละเมิดสิทธิทางปัญญาของบุคลอื่น 

     6.5 ไม่ส่งสแปมเมลหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ขยะเพื่อสร้างความร าคาญให้แก่ผู้รับ 

     6.6 ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขดูแฟ้มของผู้อื่น 

     6.7 ไม่เปิดเผยหรือน าข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต 

     6.8 ต้องท าการลงทะเบียนการค้าพาณิชย์และเสียภาษีร้านค้าให้ถูกต้อง 

     6.9 ต้องตรวจสอบสินค้าที่น าเสนอว่าต้องเป็นสินค้าที่ถูกต้องตามกฎหมายส่วนผสมในตัวผลิตภัณฑ์ต้องไม่ เกิดอันตรายกับผู้ใช้. ก ากับสินค้าและมีการน าเข้าสินค้าอย่างถูกต้องไม่ปลอมแปลงหรือคัดลอกสินค้าจากผู้อื่น 

     6.10 ต้องท าการระบุรายละเอียดสินค้าให้ชัดเจนพร้อมระบุด้วยว่าสินค้านี้พร้อมขายหรือไม่ต้องน าเสนอ ตามคุณภาพและสรรพคุณตามสินค้าที่แท้จริงไม่มีการตกแต่งหรือรีวิวผลลัพธ์ของสินค้าเกินจริง 

     6.11 จะต้องมีระบบการเก็บข้อมูลลูกค้าอย่างถูกต้องเพื่อป้องกันการถูกลักลอบน าข้อมูลของลูกค้าไปใช้ซึ่ง ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล 

      6.12 ต้องตรวจสอบและพัฒนาสินค้าอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความแน่ใจในตัวสินค้าก่อนส่งมอบ 

     6.13 ไม่หลอกลวงลูกค้าด้วยการส่งสินค้าที่ผิดแปลกไปจากที่ตกลงกันไว้และไม่ส่งสินค้าของปลอมแล้ว หลอกลวงว่าเป็นของแท้ให้กับลูกค้า

 

7.จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์

     เนื่องจากการท าธุรกรรมดิจิทัลเกี่ยวข้องกับนักคอมพิวเตอร์มากที่สุดจึงต้องมีจรรยาบรรณคอมพิวเตอร์หมายถึงหลักความประพฤติปฏิบัติอันเหมาะสมแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมที่พึงปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพต้านคอมพิวเตอร์ได้ประมวลขึ้นเป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในสาขาต่าง ๆ ของวิชาชีพคอมพิวเตอร์ยึดถือ ปฏิบัติโดยมุ่งเน้นถึงจริยธรรมปลูกฝังและเสริมสร้างให้สมาชิกมีจิตส านึกบังเกิดขึ้นในตนเองเกี่ยวกับการ ประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกที่ควรและมุ่งหวังให้สมาชิกได้ยึดถือเพื่อรักษาชื่อเสียงและส่งเสริมเกียรติคุณของ สมาชิกและสาขาวิชาชีพของตนสามารถจ าแนกหลักจรรยาบรรณได้ดังต่อไปนี้ 

     7.1 จรรยาบรรณต่อตนเองหมายถึงการยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตปฏิบัติหน้าที่และด ารงชีวิตเหมาะสม ตามหลักธรรมาภิบาลซึ่งมีหลักปฏิบัติดังต่อไปนี้ 

          7.1.1 ประกอบวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตมีความยุติธรรมใฝ่หาความรู้ใหม่ ๆ อยู่ เสมอเป็นการพัฒนาตนและงานที่รับผิดชอบอันจะเป็นการเพิ่มศักยภาพให้ตนเองและหน่วยงานที่สังกัด 

          7.1.2 ผู้ประกอบวิชาชีพคอมพิวเตอร์จะมีความวิริยะอุตสาหะในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุ ความส าเร็จของงานสูงสุด

     7.2 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงานหมายถึงการตั้งมั่นอยู่ในความถูกต้องมีเหตุผลและรู้รักสามัคคีซึ่งมี 

     7.3 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพหมายถึงการไม่ประพฤติหรือกระท าการใด ๆ 

     7.4 จรรยาบรรณต่อสังคมหมายถึงการปฏิบัติหน้าที่ปฏิบัติตนในวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ที่ดีเป็นแบบอย่าง ที่ดีของสังคม

    7.5 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการหมายถึงความเคารพในสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของผู้อื่นปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความโปร่งใสเป็นธรรม 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

หน่วยที่4 ระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล

หน่วยที่6 สื่อสังคมออนไลน์กบั ธุรกิจดิจิทัล

หน่วยที่ 3 นวัตกรรมสำหรับธุรกิจดิจิทัล